หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2552)
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์
HIGHER GRADUATE DIPLOMA OF CLINICAL SCIENCES PROGRAM IN ORTHOPAEDICS
ชื่อปริญญา
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก
ป. บัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก
Higher Graduate Diploma of Clinical Sciences
Higher. Grad. Dip. of Clin. Sc.
ชื่อที่ลงในใบ TRANSCRIPT
FIELD OF STUDY: ORTHOPAEDICS
FIELD OF STUDY: ORTHOPAEDICS
ประเภทหลักสูตร : หลักสูตรปกติ
เชิงจัดเก็บเงิน : หลักสูตรปกติ
หน่วยงานที่รับผิดชอบ : ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น
1. หลักสูตรนี้จะมีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชารังสีวิทยา, ภาควิชาพยาธิวิทยา, ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู, ภาควิชากายวิภาคศาสตร์, ภาควิชาชีวเคมี, ภาควิชาศัลยศาสตร์ และ ภาควิชาอายุรศาสตร์ ความร่วมมือได้แก่ มีการบรรยาย, ประชุมวิชาการ และดูแลผู้ป่วยร่วมกันในลักษณะสหสาขาในหัวข้อที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น โรคเนื้องอกกระดูกร่วมกับภาควิชารังสีวิทยาและภาควิชาพยาธิวิทยา โรคศัลยกรรมทางมือร่วมกับภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู มีการบรรยายความรู้พื้นฐานด้านกายวิภาคศาสตร์ร่วมกับการสนับสนุนชิ้นส่วนอาจารย์ใหญ่สำหรับฝึกฝนหัตถการร่วมกับภาควิชากายวิภาคศาสตร์ งานวิจัยด้านกระดูกเทียม (Bone Allograft) ร่วมกับภาควิชาชีวเคมี นอกจากนี้ ทางภาควิชาฯยังได้ส่งนิสิตไปฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในช่วงสั้น ๆ ที่ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
2 หลักสูตรนี้จะมีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่
1) โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โดยร่วมมือในลักษณะ เป็นสถาบันสมทบเพื่อฝึกหัดภาคปฏิบัติการ
2) หน่วยโรคเนื้องอกกระดูก กองออร์โธปิดิกส์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
3) หน่วยโรคเนื้องอกกระดูก ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
4) หน่วยโรคเนื้องอกกระดูก ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
5) หน่วยโรคข้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
6) ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทยโดยร่วมมือในลักษณะการจัดกิจกรรมวิชาการร่วมกันของสถาบันฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขาออร์โธปิดิกส์ทุกสถาบัน ทุกบ่ายวันพฤหัสบดีตลอดปี การจัดการประชุมอบรมวิชาการของอนุสาขาต่างๆของราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย อาทิเช่น อนุสาขาวิทยาศาสตร์พื้นฐานทางออร์โธปิดิกส์ อนุสาขากระดูกหัก อนุสาขาเนื้องอกเกี่ยวกับออร์โธปิดิกส์ อนุสาขาข้อเทียม อนุสาขาเวชศาสตร์การกีฬา อนุสาขากระดูกสันหลัง อนุสาขาออร์โธปิดิกส์เด็กและทารก อนุสาขาเมตาบอลิซัมกระดูก นอกจากนี้ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ยังจัดการสอบประเมินผลความรู้วิทยาศาตร์พื้นฐานทางออร์โธปิดิกส์และการสอบวัดความรู้ทั่วไประหว่างการฝึกอบรมเป็นประจำทุกปี
หลักการและเหตุผล
เนื่องด้วย ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีปรัชญาและปณิธานที่จะผลิตแพทย์และแพทย์เฉพาะทางสาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ที่มีคุณภาพ และคุณธรรมเพื่อสนองความต้องการของสังคมที่ยังขาดแคลนแพทย์ออร์โธปิดิกส์อยู่เป็นจำนวนมาก และเพื่อความเป็นเลิศ และเป็นผู้นำทางวิชาการของสาขาออร์โธปิดิกส์ ในภูมิภาคเอเชีย และให้ทัดเทียมกับนานาชาติที่มีความเจริญแล้ว จึงมีความจำเป็นในการเปิดหลักสูตรนี้ เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีคุณธรรม และมีความรู้ ความเชี่ยวชาญอย่างสูงสุดในสาขาออร์โธปิดิกส์ พร้อมที่จะเป็นแพทย์ออร์โธปิดิกส์ที่สามารถให้บริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพแก่ประชาชนคนไทย โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสในชนบท ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และสร้างงานวิจัยที่มีคุณค่าเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศ และมีส่วนสร้างรายได้ให้แก่ประเทศชาติตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้ประเทศเราสามารถเป็นสถานบริการทางการแพทย์แก่นานาชาติ
ปรัชญา วัตถุประสงค์ของหลักสูตร คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และภาวะความต้องการบัณฑิต
1. ปรัชญาของหลักสูตร
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางคลินิก สาขาออร์โธปิดิกส์ เป็นหลักสูตรสำหรับให้แพทย์ได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกอบรมเป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาออร์โธปิดิกส์ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา จะเป็นผู้ความรู้ความสามารถและทักษะทางออร์โธปิดิกส์อย่างพอเพียง ในการนำมาใช้ตรวจ วินิจฉัย รักษาผ่าตัด ติดตามอาการของผู้ป่วย ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ศึกษาวิจัยและการศึกษาต่อเนื่องทางด้านออร์โธปิดิกส์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม กอรปด้วยคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
2. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในด้านการวินิจฉัย รักษา ผ่าตัด ติดตามอาการของผู้ป่วยส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคทางด้านออร์โธปิดิกส์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2. เพื่อผลิตงานวิจัยหรือองค์ความรู้ใหม่ทางด้านออร์โธปิดิกส์ที่สามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วย และพัฒนาวิชาการทางด้านออร์โธปิดิกส์ให้ก้าวหน้า
3. คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
1 มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านออร์โธปิดิกส์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาออร์โธปิดิกส์ ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้ทันความก้าวหน้าทางวิชาการ
2 มีเจตคติที่ดี มีวินัย เคารพกฎระเบียบ ซื่อสัตย์สุจริต มีวัฒนธรรมในการดำรงชีพ มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
3 มีความความสามารถในการบริหารจัดการ มีทักษะในการปฏิบติงานเป็นทีม การติดต่อสื่อสาร
4 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นสำคัญ มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วยและผู้ร่วมวิชาชีพ
4. ภาวะความต้องการบัณฑิต
โรคและภาวะทางออร์โธปิดิกส์เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศและมีอุบัติการณ์สูงขี้นอย่างต่อเนื่องตามการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การเปลี่ยนวิถีชีวิตของประชาชนจากวิถีชนบทมาเป็นวิถีเมืองที่เพิ่มขึ้นรวมถึงการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของผู้สูงอายุ นอกจากนี้การพัฒนาโครงสร้างการบริการทางสาธารณสุขทำให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการบริการทางการแพทย์เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้องการแพทย์ทางออร์โธปิดิกส์ที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนี้จำนวนแพทย์ทางด้านออร์โธปิดิกส์ที่ยังไม่เพียงพอและสัดส่วนการกระจายของแพทย์ทางด้านออร์โธปิดิกส์ที่ไม่สามารถให้การบริการแก่ผู้ป่วยได้อย่างทั่วถึง ผู้ป่วยจำนวนมากจึงยังคงเจ็บป่วย มีความพิการและขาดคุณภาพชีวิตที่ดีจนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองและเป็นถ้าเราอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาตร์การแพทย์คลินิก สาขาออร์โธปิดิกส์จะช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์ออร์โธปิดิกส์ โดยผลิตแพทย์ออร์โธปิดิกส์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางเพื่อปฏิบัติงานให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยทางด้านออร์โธปิดิกส์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ทำให้ผู้ป่วยหายจากโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถกลับไปดำเนินชีวิตที่ดีในสังคมได้ต่อไป
หลักสูตรที่เสนอเปิดใหม่มีลักษณะคล้ายคลึงกับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนอยู่แล้วในจุฬาฯ - ไม่มี
หลักสูตรลักษณะนี้มีเปิดสอนอยู่แล้วที่มหาวิทยาลัยอื่นในประเทศ ได้แก่ - ไม่มี
หลักสูตรที่เสนอเป็นหลักสูตรที่จะได้รับความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ในต่างประเทศหรือไม่ - ไม่มี
หลักสูตรของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศที่ใช้ประกอบการพัฒนาหลักสูตรนี้ ได้แก่ - ไม่มี
กำหนดการเปิดสอน : ปีการศึกษา 2552
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
1. สำเร็จการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
2. ได้รับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา
3. ผ่านการฝึกอบรมตามโครงการเพิ่มพูนทักษะของแพทยสภา
4. มีคุณสมบัติอื่นๆ เป็นไปตามประกาศซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆ ไป หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาได้
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
เป็นไปตามคู่มือการรับสมัครเข้าศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆไป
ระบบการศึกษา
เนื่องจากการศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ทางคลินิก มีการปฏิบัติงานต่อเนื่องตลอดทั้งปี ไม่อาจจัดการศึกษาตามระบบทวิภาคได้ จึงให้นิสิตลงทะเบียนเป็นรายปี โดยมีเวลาการศึกษาไม่ต่ำกว่า 30 สัปดาห์ต่อปี รายละเอียดอื่นๆ เป็นไปตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
ระยะเวลาการศึกษา
ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี นับจากภาคการศึกษาแรกที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตร
การลงทะเบียนเรียน
เป็นการศึกษาตลอดปี (Year Course)
การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา
การประเมินผลรายวิชาใช้สัญลักษณ์ A, B+, B, C+, C, D+, D และ F
คณาจารย์ในหลักสูตร
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล* พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Sport Medicine / Arthroscopy and Traumatology (USA)
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ วัชระ วิไลรัตน์* พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate of Arthroplasty of the Knee and Hip (UK)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี ตนาวลี วท.บ. พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Knee Reconstruction (USA)
Certificate in Adult Reconstruction Knee Surgery (USA)
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ยงศักดิ์ หวังรุ่งทรัพย์ พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Spinal and Knee Surgery (UK)
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ประวิทย์ กิติดำรงสุข* พ.บ. (มหิดล)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate of Hand Surgery Training (Singapore)
Certificate of Hand and MicroSurgery (USA)
* อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
อาจารย์ผู้สอนนอกภาควิชาฯ
ศาสตราจารย์นายแพทย์ พิบูลย์ อิทธิระวิวงศ์
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ประกิต เทียนบุญ
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ไพรัช ประสงค์จีน
ศาสตราจารย์นายแพทย์ อดิศร ภัทราดูลย์
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ทวีชัย เตชะพงศ์วรชัย
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ วิชาญ ยิ่งศักดิ์มงคล
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี ตนาวลี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์ ณพชาติ ลิมปพยอม
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิง วรนุช ธนากิจ
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิง สมใจ หวังศุภชาติ
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิง สุกัลยา เลิศล้ำ
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงดุจใจ ชัยวานิชศิริ
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงกฤษณา พิรเวช
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงมนาธิป โอศิริ
ผศ.นพ.ดร.สิทธิศักดิ์ หรรษาเวก
อาจารย์นายแพทย์ชูเกียรติ เฉลิมพันธ์พิพัฒน์
นายแพทย์อี๊ด ลอประยูร
แพทย์หญิง น้ำผึ้ง นำการุณอรุณโรจน์
อาจารย์พิเศษ
นายแพทย์ กวี ภัทราดูลย์
นายแพทย์ สีหธัช งามอุโฆษ
นายแพทย์ นรา จารุวังสันติ
นายแพทย์ วรวรรธน์ ลิ้มทองกุล
นายแพทย์ กฤษณ์ เจริญลาภ
นายแพทย์ สมพร เตชะพะโลกุล
นายแพทย์ สุรพล อธิประยูร
นายแพทย์ ณัฐวุธ ศาสตรวาหา
นายแพทย์วสุวัฒน์ กิติสมประยูรกุล
จำนวนนิสิต
จำนวนนิสิต
|
ปีการศึกษา
|
2552
|
2553
|
2554
|
2555
|
2556
|
นิสิตใหม่
|
8
|
8
|
8
|
8
|
8
|
นิสิตเก่า
|
-
|
16
|
16
|
16
|
16
|
รวม
|
-
|
24
|
24
|
24
|
24
|
สำเร็จการศึกษา
|
-
|
8
|
8
|
8
|
8
|
สถานที่และอุปกรณ์การสอน
ห้องสมุด
งบประมาณ
หลักสูตร
การประกันคุณภาพของหลักสูตร
26.1การบริหารหลักสูตร
- 1.1มีคณะกรรมการที่ทำหน้าที่กำหนดทิศทางและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร บริหารจัดการ วางแผนดำเนินงาน และติดตามผล โดยกำหนดวาระ คุณสมบัติ และการได้มาซึ่งคณะกรรมการไว้อย่างชัดเจน
- 1.2กำหนดให้คณะกรรมการมีการประชุมปรึกษาหารือกันอย่างสม่ำเสมอและจัดทำรายงานการประชุมทุกครั้ง
- 1.3มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนงานเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ/คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสหสาขาวิชาทุกปีการศึกษา
- 1.4มีการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามปัจจัยคุณภาพต่างๆเทียบกับแผนงานและนำมาเพื่อทบทวนทิศทางและวัตถุประสงค์เป็นประจำก่อนรับนิสิตรุ่นใหม่
- 26.2ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
- 2.1มีการจัดทำแผนดำเนินงาน แผนงบประมาณ ทั้งในระยะสั้น (1 – 2 ปี) ระยะกลาง (3 – 5 ปี)
- 2.2มีการสำรวจความต้องการทรัพยากรของหลักสูตรและจัดเก็บข้อมูลที่สำรวจในแต่ละปี มีการกำหนดเวลาและขั้นตอนการขอรับการสนับสนุนทรัพยากรจากผู้ปฏิบัติงานในหลักสูตร
- 2.3มีแหล่งทุนสนับสนุนทรัพยากรเพิ่มเติมนอกเหนือจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยและคณะ
- 2.4มีระบบในการจัดสรรและปันส่วนทรัพยากรตามความต้องการ โดยคำนึงถึงประสิทธิภาพและผลที่คาดหวัง
- 2.5มีการกำกับและตรวจสอบให้มีการใช้ประโยชน์สูงสุดจากทรัพยากรที่ได้รับ
- 2.6มีระบบในการรายงานการใช้ทรัพยากรและระบบการตรวจสอบซ่อมบำรุงอุปกรณ์และครุภัณฑ์ตามระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้เสมอ
- 26.3การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนิสิต
- 3.1มีการจัดกิจกรรมทางวิชาการเพื่อการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพให้นิสิตในด้านต่างๆ
- 3.2มีการเพิ่มพูนประสบการณ์ทางวิชาการให้นิสิต
- 3.3มีการสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์/โครงงานของนิสิตและการเผยแพร่ผลงานวิจัย
- 3.4มีการสนับสนุนหรือจัดให้มีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นิสิตมีความรับผิดชอบต่อสังคม
- 3.5มีการประเมินคุณภาพนิสิตเพื่อเป็นข้อมูลป้อนกลับในการพัฒนาตนเองของนิสิตอย่างต่อเนื่อง
- 3.6มีการจัดอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้คำปรึกษาแก่นิสิตที่ครอบคลุมทั้งในด้านวิชาการและการดำเนินชีวิต
- 3.7มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นิสิตได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้ที่ประสบความสำเร็จในวิชาชีพ
- 26.4ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
- 4.1มีการสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตเป็นประจำทุกปีการศึกษา
- 4.2มีการนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจความพึงพอใช้ของผู้ใช้บัณฑิตมาเป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีคุณสมบัติพึงประสงค์ตามความต้องการของสังคมและประเทศชาติมากขึ้น
- 27.การพัฒนาหลักสูตร
ภาควิชาออร์โธปิดิกส์
คณะแพทยศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6.1 หลักสูตรนี้จะมีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชารังสีวิทยา, ภาควิชาพยาธิวิทยา, ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู, ภาควิชากายวิภาคศาสตร์, ภาควิชาชีวเคมี, ภาควิชาศัลยศาสตร์ และ ภาควิชาอายุรศาสตร์ ความร่วมมือได้แก่ มีการบรรยาย, ประชุมวิชาการ และดูแลผู้ป่วยร่วมกันในลักษณะสหสาขาในหัวข้อที่เกี่ยวเนื่องกัน เช่น โรคเนื้องอกกระดูกร่วมกับภาควิชารังสีวิทยาและภาควิชาพยาธิวิทยา โรคศัลยกรรมทางมือร่วมกับภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู มีการบรรยายความรู้พื้นฐานด้านกายวิภาคศาสตร์ร่วมกับการสนับสนุนชิ้นส่วนอาจารย์ใหญ่สำหรับฝึกฝนหัตถการร่วมกับภาควิชากายวิภาคศาสตร์ งานวิจัยด้านกระดูกเทียม (Bone Allograft) ร่วมกับภาควิชาชีวเคมี นอกจากนี้ ทางภาควิชาฯยังได้ส่งนิสิตไปฝึกปฏิบัติงานเต็มเวลาในช่วงสั้น ๆ ที่ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู
6.2 หลักสูตรนี้จะมีความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นนอกจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้แก่
1)โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา โดยร่วมมือในลักษณะ เป็นสถาบันสมทบเพื่อฝึกหัดภาคปฏิบัติการ
2) หน่วยโรคเนื้องอกกระดูก กองออร์โธปิดิกส์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
3) หน่วยโรคเนื้องอกกระดูก ภาควิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
4) หน่วยโรคเนื้องอกกระดูก ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
5) หน่วยโรคข้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
6) ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทยโดยร่วมมือในลักษณะการจัดกิจกรรมวิชาการร่วมกันของสถาบันฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางสาขาออร์โธปิดิกส์ทุกสถาบัน ทุกบ่ายวันพฤหัสบดีตลอดปี การจัดการประชุมอบรมวิชาการของอนุสาขาต่างๆของราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย อาทิเช่น อนุสาขาวิทยาศาสตร์พื้นฐานทางออร์โธปิดิกส์ อนุสาขากระดูกหัก อนุสาขาเนื้องอกเกี่ยวกับออร์โธปิดิกส์ อนุสาขาข้อเทียม อนุสาขาเวชศาสตร์การกีฬา อนุสาขากระดูกสันหลัง อนุสาขาออร์โธปิดิกส์เด็กและทารก อนุสาขาเมตาบอลิซัมกระดูก นอกจากนี้ราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ยังจัดการสอบประเมินผลความรู้วิทยาศาตร์พื้นฐานทางออร์โธปิดิกส์และการสอบวัดความรู้ทั่วไประหว่างการฝึกอบรมเป็นประจำทุกปี
เนื่องด้วย ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีปรัชญาและปณิธานที่จะผลิตแพทย์และแพทย์เฉพาะทางสาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ที่มีคุณภาพ และคุณธรรมเพื่อสนองความต้องการของสังคมที่ยังขาดแคลนแพทย์ออร์โธปิดิกส์อยู่เป็นจำนวนมาก และเพื่อความเป็นเลิศ และเป็นผู้นำทางวิชาการของสาขาออร์โธปิดิกส์ ในภูมิภาคเอเชีย และให้ทัดเทียมกับนานาชาติที่มีความเจริญแล้ว จึงมีความจำเป็นในการเปิดหลักสูตรนี้ เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีคุณธรรม และมีความรู้ ความเชี่ยวชาญอย่างสูงสุดในสาขาออร์โธปิดิกส์ พร้อมที่จะเป็นแพทย์ออร์โธปิดิกส์ที่สามารถให้บริการทางการแพทย์ที่มีคุณภาพแก่ประชาชนคนไทย โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสในชนบท ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และสร้างงานวิจัยที่มีคุณค่าเหมาะสมกับการพัฒนาประเทศ และมีส่วนสร้างรายได้ให้แก่ประเทศชาติตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการให้ประเทศเราสามารถเป็นสถานบริการทางการแพทย์แก่นานาชาติ
8.1 ปรัชญาของหลักสูตร
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางคลินิก สาขาออร์โธปิดิกส์ เป็นหลักสูตรสำหรับให้แพทย์ได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกอบรมเป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาออร์โธปิดิกส์ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา จะเป็นผู้ความรู้ความสามารถและทักษะทางออร์โธปิดิกส์อย่างพอเพียง ในการนำมาใช้ตรวจ วินิจฉัย รักษาผ่าตัด ติดตามอาการของผู้ป่วย ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ศึกษาวิจัยและการศึกษาต่อเนื่องทางด้านออร์โธปิดิกส์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม กอรปด้วยคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวิชาชีพ
8.2 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
8.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในด้านการวินิจฉัย รักษา ผ่าตัด ติดตามอาการของผู้ป่วยส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคทางด้านออร์โธปิดิกส์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
8.2.3 เพื่อผลิตงานวิจัยหรือองค์ความรู้ใหม่ทางด้านออร์โธปิดิกส์ที่สามารถ นำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วย และพัฒนาวิชาการทางด้านออร์โธปิดิกส์ให้ก้าวหน้า
8.3 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
8.3.1 มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านออร์โธปิดิกส์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาออร์โธปิดิกส์ ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อให้ทันความก้าวหน้าทางวิชาการ
8.3.2 มีเจตคติที่ดี มีวินัย เคารพกฎระเบียบ ซื่อสัตย์สุจริต มีวัฒนธรรมในการดำรงชีพ มี คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
8.3.3 มีความความสามารถในการบริหารจัดการ มีทักษะในการปฏิบติงานเป็นทีม การติดต่อสื่อสาร
8.3.4 มีความรับผิดชอบต่อตนเองและต่อสังคม คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นสำคัญ มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วยและผู้ร่วมวิชาชีพ
8.4 ภาวะความต้องการบัณฑิต
โรคและภาวะทางออร์โธปิดิกส์เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศและมีอุบัติการณ์สูงขี้นอย่างต่อเนื่องตามการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ การเปลี่ยนวิถีชีวิตของประชาชนจากวิถีชนบทมาเป็นวิถีเมืองที่เพิ่มขึ้นรวมถึงการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของผู้สูงอายุ นอกจากนี้การพัฒนาโครงสร้างการบริการทางสาธารณสุขทำให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการบริการทางการแพทย์เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้องการแพทย์ทางออร์โธปิดิกส์ที่มีความสามารถเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามในปัจจุบันนี้จำนวนแพทย์ทางด้านออร์โธปิดิกส์ที่ยังไม่เพียงพอและสัดส่วนการกระจายของแพทย์ทางด้านออร์โธปิดิกส์ที่ไม่สามารถให้การบริการแก่ผู้ป่วยได้อย่างทั่วถึง ผู้ป่วยจำนวนมากจึงยังคงเจ็บป่วย มีความพิการและขาดคุณภาพชีวิตที่ดีจนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองและเป็นถ้าเราอยู่ในสังคมได้อย่างเหมาะสม
การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาตร์การแพทย์คลินิก สาขาออร์โธปิดิกส์จะช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแพทย์ออร์โธปิดิกส์ โดยผลิตแพทย์ออร์โธปิดิกส์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางเพื่อปฏิบัติงานให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยทางด้านออร์โธปิดิกส์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ทำให้ผู้ป่วยหายจากโรค มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถกลับไปดำเนินชีวิตที่ดีในสังคมได้ต่อไป
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
14.1 สำเร็จการศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
14.2 ได้รับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา
14.3 ผ่านการฝึกอบรมตามโครงการเพิ่มพูนทักษะของแพทยสภา
14.4 มีคุณสมบัติอื่นๆ เป็นไปตามประกาศซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆ ไป หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้วเห็นสมควรให้มีสิทธิสมัครเข้าศึกษาได้
เป็นไปตามคู่มือการรับสมัครเข้าศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยซึ่งจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆไป
เนื่องจากการศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ทางคลินิก มีการปฏิบัติงานต่อเนื่องตลอดทั้งปี ไม่อาจจัดการศึกษาตามระบบทวิภาคได้ จึงให้นิสิตลงทะเบียนเป็นรายปี โดยมีเวลาการศึกษาไม่ต่ำกว่า 30 สัปดาห์ต่อปี รายละเอียดอื่นๆ เป็นไปตามข้อบังคับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา
ระยะเวลาการศึกษา 3 ปี นับจากภาคการศึกษาแรกที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตร
เป็นการศึกษาตลอดปี (Year Course)
การประเมินผลรายวิชาใช้สัญลักษณ์ A, B+, B, C+, C, D+, D และ F
20.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร
ลำดับที่
|
ชื่อ
|
คุณวุฒิ
|
1.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล*
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Sport Medicine / Arthroscopy and Traumatology (USA)
|
2.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ วัชระ วิไลรัตน์*
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate of Arthroplasty of the Knee and Hip (UK)
|
3.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี ตนาวลี
|
วท.บ. พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Knee Reconstruction (USA)
Certificate in Adult Reconstruction Knee Surgery (USA)
|
4.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ยงศักดิ์ หวังรุ่งทรัพย์
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Spinal and Knee Surgery (UK)
|
* อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
|
|
5. |
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ประวิทย์ กิติดำรงสุข*
|
พ.บ. (มหิดล)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate of Hand Surgery Training (Singapore)
Certificate of Hand and MicroSurgery (USA)
|
20.2 อาจารย์ผู้สอน
20.2.1 อาจารย์ผู้สอนในภาควิชาฯ
ลำดับที่
|
ชื่อ
|
คุณวุฒิ
|
1.
|
ศาสตราจารย์นายแพทย์ พิบูลย์ อิทธิระวิวงศ์
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
2.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ประกิต เทียนบุญ
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
3.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ไพรัช ประสงค์จีน
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
4.
|
ศาสตราจารย์นายแพทย์ อดิศร ภัทราดูลย์
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
5.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ทวีชัย เตชะพงศ์วรชัย
|
พ.บ. (มหิดล)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
6.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ วิชาญ ยิ่งศักดิ์มงคล
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
7.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี ตนาวลี
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
8.
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์ ณพชาติ ลิมปพยอม
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
ลำดับที่
|
ชื่อ
|
คุณวุฒิ
|
1.
|
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิง วรนุช ธนากิจ
|
วท.บ.(เคมี ) (เกียรตินิยม) (เกษตรฯ)
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาพยาธิวิทยากายวิภาค (แพทยสภา)
Cert. in Bone and Soft Tissue Pathology (UCLA)
|
2.
|
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิง สมใจ หวังศุภชาติ
|
พ.บ. (เกียรตินิยม) (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย (แพทยสภา)
|
3.
|
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิง สุกัลยา เลิศล้ำ
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขารังสีวิทยาทั่วไป (แพทยสภา)
|
4.
|
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงดุจใจ ชัยวานิชศิริ
|
พ.บ.(เกียรตินิยมอันดับ 2) (มหิดล)
ว.ว.สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู (แพทยสภา)
Cert.in Cardiac Rehabilitation (USA)
|
5.
|
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงกฤษณา พิรเวช
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู (แพทยสภา)
Cert.in Clinical Neurophysiology and Stroke Rehabilitation (USA)
|
6.
|
รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงมนาธิป โอศิริ
|
พ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) (จุฬาฯ)
ว.ว.อายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติซั่ม (แพทยสภา)
|
7.
|
ผศ.นพ.ดร.สิทธิศักดิ์ หรรษาเวก
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
วท.ม.สาขาชีวเคมีและชีววิทยาโมเลกุล (แพทยสภา)
|
8.
|
อาจารย์นายแพทย์ชูเกียรติ เฉลิมพันธ์พิพัฒน์
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
9.
|
นายแพทย์อี๊ด ลอประยูร
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
10.
|
แพทย์หญิง น้ำผึ้ง นำการุณอรุณโรจน์
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขารังสีวิทยาวินิจฉัย (แพทยสภา)
|
20.3 อาจารย์พิเศษ
ลำดับที่
|
ชื่อ
|
คุณวุฒิ
|
หน่วยงานที่สังกัด
|
1.
|
นายแพทย์ กวี ภัทราดูลย์
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.จุฬาลงกรณ์
|
2.
|
นายแพทย์ สีหธัช งามอุโฆษ
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.จุฬาลงกรณ์
|
3.
|
นายแพทย์ นรา จารุวังสันติ
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.จุฬาลงกรณ์
|
4.
|
นายแพทย์ วรวรรธน์ ลิ้มทองกุล
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.จุฬาลงกรณ์
|
5.
|
นายแพทย์ กฤษณ์ เจริญลาภ
|
พ.บ.(จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.จุฬาลงกรณ์
|
6.
|
นายแพทย์ สมพร เตชะพะโลกุล
|
พ.บ.(จุฬา)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.สมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
|
7.
|
นายแพทย์ สุรพล อธิประยูร
|
พ.บ.(มหิดล)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.สมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
|
8.
|
นายแพทย์ ณัฐวุธ ศาสตรวาหา
|
พ.บ.(จุฬา)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
|
รพ.สมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
|
9.
|
นายแพทย์วสุวัฒน์ กิติสมประยูรกุล
|
พ.บ. (จุฬา)
ว.ว.สาขาเวชศาสตร์ฟื้นฟู (แพทยสภา)
|
รพ.จุฬาลงกรณ์
|
จำนวนนิสิต
|
ปีการศึกษา
|
2552
|
2553
|
2554
|
2555
|
2556
|
นิสิตใหม่
|
8
|
8
|
8
|
8
|
8
|
นิสิตเก่า
|
-
|
16
|
16
|
16
|
16
|
รวม
|
-
|
24
|
24
|
24
|
24
|
สำเร็จการศึกษา
|
-
|
8
|
8
|
8
|
8
|
22.1 สถานที่และอุปกรณ์การสอนของภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย
22.2 สถานที่และอุปกรณ์การสอนของฝ่ายออร์โธปิดิกส์โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา
22.3 สถานที่และอุปกรณ์การสอนของราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ แห่งประเทศไทย
23.1 ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มีตำราและวารสารทางการแพทย์อย่างน้อย 50,000 เล่ม บริการสืบค้นข้อมูลทางการแพทย์ด้วยคอมพิวเตอร์ (Medlars/Medline Search) คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อทาง Internet อย่างน้อย 10 เครื่อง
23.2 ห้องสมุดภาควิชาออร์โธปิดิกส์ มีตำราและหนังสือ 500 เล่ม และวารสารหลายรายการ คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อ Internet 2 เครื่อง
23.3 ห้องสมุดแพทย์ประจำบ้าน ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ มีตำรา 80 เล่ม แผ่น CD ROM บันทึกการสอนทางออร์โธปิดิกส์ 100 แผ่น คอมพิวเตอร์ที่ติดต่อ Internet 2 เครื่อง
ค่าใช้จ่ายดำเนินการผลิตบัณฑิต เฉลี่ยประมาณคนละ 80,000 บาท
25.1 จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 53หน่วยกิต
25.2 โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 53หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรายวิชาเรียน 53 หน่วยกิต
25.3 รายวิชา
3016705 วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางออร์โธปิดิกส์ 2(2-0-6)
ORTHOPAEDIC BASIC SCIENCE
3016706 ออร์โธปิดิกส์คลินิก 1 4(0-12-4)
CLINICAL ORTHOPAEDIC I
3016707 ออร์โธปิดิกส์หัตถการ 1 4(0-12-4)
OPERATIVE ORTHOPAEDIC I
3016708 ความผิดปกติและโรคทางออร์โธปิดิกส์ 2(2-0-6)
ORTHOPAEDIC DISORDER
3016709 ออร์โธปิดิกส์คลินิก 2 4(0-12-4)
CLINICAL ORTHOPAEDIC II
3016710 ออร์โธปิดิกส์หัตถการ 2 4(0-12-4)
OPERATIVE ORTHOPAEDIC II
3016711 ออร์โธปิดิกส์ก้าวหน้า 4(1-9-6)
UPDATE IN ORTHOPAEDICS
3016712 ศัลยศาสตร์มือ 3(0-9-3)
HAND SURGERY
3016713 ศัลยศาสตร์กระดูกสันหลัง 3(0-9-3)
SPINAL SURGERY
3016714 ศัลยศาสตร์เนื้องอกที่เกี่ยวข้องกับกระดูกและข้อ 3(0-9-3)
TUMORS IN ORTHOPAEDIC SURGERY
3016715 ศัลยศาสตร์ข้อเทียม 3(0-9-3)
ARTHROPLASTY
3016716 ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ในเด็กและทารก 3(0-9-3)
PEDIATRIC ORTHOPAEDIC SURGERY
30160717 ออร์โธปิดิกส์เกี่ยวกับกีฬา 3(0-9-3)
SPORTS ORTHOPAEDICS
3016718 โครงการพิเศษ 1 3(0-0-12)
SPECIAL PROJECT I
3016719 โครงการพิเศษ 2 3(0-0-12)
SPECIAL PROJECT II
3016721 * จริยธรรมกับเวชปฏิบัติ 1 (1-0-3)
ETHICS FOR ORTHOPADICS
3016722 * ปฏิบัติการออร์โธปิดิกส์อุบัติเหตุ 2 (0-6-2)
ORTHOAEDIC TRAUMA PRACTICE
3016723 * เวชศาสตร์ฟื้นฟูสำหรับแพทย์ออร์โธปิดิกส์ 1 (0-3-1)
REHABILITATION MEDICINE FOR ORTHOPAEDISTS
3016724 * อายุรศาสตร์โรคข้อพื้นฐาน 1 (0-3-1)
BASIC RHEUMATOLOGY
นอกจากนี้ นิสิตอาจเลือกไปดูงานในหน่วยงานหรือสถาบันอื่นที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาที่ตนมุ่งเน้น เพื่อเสริมความรู้ได้ โดยความเห็นชอบของหัวหน้าภาควิชาออร์โธปิดิกส์ ทั้งนี้รวมเวลาแล้วต้องไม่เกิน 3 เดือน
|
|
|
|
|
|
-----------------------
* รายวิชาเปิดใหม่
|
|
|
|
------------------------------
* รายวิชาเปิดใหม่
|
|
25.4 แผนการศึกษา
ปีที่ 1 หน่วยกิต
3016705 วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางออร์โธปิดิกส์ 2
3016706 ออร์โธปิดิกส์คลินิก 1 4
3016707 ออร์โธปิดิกส์หัตถการ 1 4
3016708 ความผิดปกติและโรคทางออร์โธปิดิกส์ 2
3016718 โครงการพิเศษ 1 3
3016721 * จริยธรรมกับเวชปฏิบัติ 1
รวม 16
ปีที่ 2 หน่วยกิต
3016709 ออร์โธปิดิกส์คลินิก 2 4
3016710 ออร์โธปิดิกส์หัตถการ 2 4
3016711 ออร์โธปิดิกส์ก้าวหน้า 4
3016715 ศัลยศาสตร์ข้อเทียม 3
3016719 โครงการพิเศษ 2 3
3016722 * ปฏิบัติการออร์โธปิดิกส์อุบัติเหตุ 2
รวม 20
ปีที่ 3 หน่วยกิต 3016712 ศัลยศาสตร์มือ 3
3016713 ศัลยศาสตร์กระดูกสันหลัง 3
3016714 ศัลยศาสตร์เนื้องอกที่เกี่ยวข้องกับกระดูกและข้อ 3
3016716 ออร์โธปิดิกส์ในเด็กและทารก 3
3016717 ออร์โธปิดิกส์เกี่ยวกับกีฬา 3
3016723 * เวชศาสตร์ฟื้นฟูสำหรับแพทย์ออร์โธปิดิกส์ 1
3016724 * อายุรศาสตร์โรคข้อพื้นฐาน 1
รวม 17
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 53 หน่วยกิต
-----------------------------
* รายวิชาเปิดใหม่
คำอธิบายรายวิชา
3016705 วิทยาศาสตร์พื้นฐานทางออร์โธปิดิกส์ 2 (2-0-6)
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พื้ฐาน เกี่ยวกับองค์ความรู้ทางด้านออร์โธปิดิกส์ ได้แก่ กลศาสตร์ วัสดุชีวภาพชีววิทยาของการเชื่อมติดของกระดูก เมตาโบลิซึ่ม ของกระดูก เอ็น กล้ามเนื้อ
3016706 ออร์โธปิดิกส์คลินิก 1 4(0-12-4)
ฝึกปฏิบัติการโดยมีอาจารย์เป็นผู้ให้คำแนะนำในการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัดดูแลหลังผ่าตัด ให้คำแนะนำในการทำกายภาพบำบัด ทั้งแก่ผู้ป่วยในและ ผู้ป่วยนอก
3016707 ออร์โธปิดิกส์หัตถการ 1 4 (0-12-4)
ฝึกปฏิบัติในการ(ทำ)ผ่าตัดและช่วยผ่าตัดทางออร์โธปิดิกส์ การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
การเขียนรายงานการผ่าตัด โดยมีอาจารย์เป็นผู้ให้คำแนะนำ
3016708 ความผิดปกติและโรคทางออร์โธปิดิกส์ 2 (2-0-6)
โรคและภาวะทางออร์โธปิดิกส์ที่พบบ่อย ความก้าวหน้าในการดูแลรักษาโรคและภาวะ
ทางออร์โธปิดิกส์ โดยเฉพาะภาวะกระดูกหักข้อเคลื่อนและการติดเชื้อของกระดูก
3016709 ออร์โธปิดิกส์คลินิก 2 4(0-12-4)
ฝึกปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก การอภิปรายร่วมกับอาจารย์ในการวางแผน
การรักษา และค้นคว้าวิธีต่าง ๆ ในการรักษา
3016710 ออร์โธปิดิกส์หัตถการ 2 4(0-12-4)
ฝึกปฏิบัติในการ(ทำ)ผ่าตัดและช่วยผ่าตัดทางออร์โธปิดิกส์ซึ่งมีความยากมากขึ้น
โดยมีอาจารย์ เป็นผู้ให้คำแนะนำ
3016711 ออร์โธปิดิกส์ก้าวหน้า 4(1-9-6)
อภิปรายวิทยาการใหม่ ๆ ทางออร์โธปิดิกส์จากวารสารและตำราที่มีมาตรฐานระดับนานาชาติ
3016712 ศัลยศาสตร์มือ 3 (0-9-3)
ฝึกปฏิบัติในการซักประวัติ ตรวจร่างกาย วินิจฉัย และวางแผนการรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาของมืออันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ความพิการแต่กำเนิด และความผิดปกติจากการทำงาน รวมทั้งความเสื่อมของร่างกาย เน้นการรักษาโดยวิธีผ่าตัด
3016713 ศัลยศาสตร์กระดูกสันหลัง 3 (0-9-3)
ฝึกปฏิบัติในการซักประวัติ ตรวจร่างกาย วินิจฉัย และวางแผนการรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาของกระดูกสันหลังหมอนรองกระดูกสันหลัง เส้นประสาท และไขสันหลัง รวมทั้งอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ปัญหาดังกล่าวอาจเกิดจากการบาดเจ็บความพิการแต่กำเนิด หรือความเสื่อมตามอายุ เน้นการรักษาโดยวิธีผ่าตัด
3016714 ศัลยศาสตร์เนื้องอกที่เกี่ยวข้องกับกระดูกและข้อ 3 (0-9-3)
ปัญหาความผิดปกติของกระดูกที่มีสาเหตุจากเนื้องอกกระดูกทั้งชนิดปฐมภูมิและทุติยภูมิ ฝึกปฏิบัติการรักษาโดยวิธีผ่าตัดมะเร็งกระดูก
3016715 ศัลยศาสตร์ข้อเทียม 3 (0-9-3)
ปัญหาความผิดปกติของข้อที่จำเป็นต้องรับการรักษาโดยใช้ข้อเทียม เทคนิคใหม่ ๆ ในการ ผ่าตัดข้อเทียม ฝึกปฏิบัติในการซักประวัติ ตรวจร่างกายผู้ป่วยข้อเสื่อมชนิดต่าง ๆ และผ่าตัดโดยใช้วัสดุเทียมทางการแพทย์
3016716 ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ในเด็กและทารก 3 (0-9-3)
ทักษะการดูแลรักษาเด็กและทารกที่มีปัญหาด้านกระดูกและข้อ อันเนื่องมาจากความพิการแต่กำเนิด หรือความพิการที่เกิดในวัยเด็ก
3016717 ออร์โธปิดิกส์เกี่ยวกับกีฬา 3 (0-9-3)
ทักษะการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านกระดูกข้อและเอ็นอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุทางการกีฬา เทคนิคการรักษาที่กำลังพัฒนาไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน
3016718 โครงการพิเศษ 1 3 (0-0-12)
ทบทวนวรรณกรรมโดยเฉพาะงานวิจัยใหม่ ๆ ที่อยู่ในความสนใจ เสนอโครงร่างงานวิจัยทางคลินิกโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้ให้คำแนะนำ
3016719 โครงการพิเศษ 2 3 (0-0-12)
ดำเนินการวิจัยทางคลินิก เขียนรายงาน และส่งต้นฉบับในเวลาที่กำหนด นำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการประจำปีของราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย
3016721 * จริยธรรมกับเวชปฏิบัติ 1 (1-0-3 )
การทบทวนหัวข้อจริยธรรมซึ่งแพทย์ผู้ทำเวชปฏิบัติพึงมีเป็นพื้นฐาน การปลูกฝังและ สร้างเสริมคุณธรรมสำหรับวิชาชีพดังกล่าวให้แก่นิสิตอย่างต่อเนื่อง
3016722 * ปฏิบัติการออร์โธปิดิกส์อุบัติเหตุ 2 (0-6-2)
การฝึกปฏิบัติการภาคสนามด้านการรักษาภาวะทางออร์โธปิดิกส์ที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุโดยตรง ณ โรงพยาบาลศูนย์อุบัติเหตุในส่วนภูมิภาค โดยมีอาจารย์พิเศษของโรงพยาบาล และสถาบันหลักเป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำและควบคุมอย่างใกล้ชิด
3016723 * เวชศาสตร์ฟื้นฟูสำหรับแพทย์ออร์โธปิดิกส์ 1 (0-3-1)
ความรู้พื้นฐานทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูสำหรับแพทย์ออร์โธปิดิกส์บทบาทของเวชศาสตร์ฟื้นฟูในการดูแลรักษาโรค และการดูแลฟื้นฟูในระยะหลังผ่าตัด
3016724 * อายุรศาสตร์โรคข้อพื้นฐาน 1 (0-3-1)
ความรู้ทางอายุรศาสตร์โรคข้อที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับระบบกล้ามเนื้อกระดูกและข้อซึ่งแพทย์ออร์โธปิดิกส์ควรทราบ เน้นโรคข้อบางโรคซึ่งพบบ่อย การดูแลรักษาด้วยวิธีการต่าง ๆ กันตามระยะของโรค ทั้งการให้ยารักษาและการผ่าตัดเมื่อมีความพิการเกิดขึ้น
------------------------------------
* รายวิชาเปิดใหม่
COURSE DESCRIPTION
3016705 ORTHOPAEDIC BASIC SCIENCE 2(2-0-6)
ORTH BASIC SCI
Knowledge in orthopaedic basic science: biomechanics, biomaterial, biology of bone healing, bone metabolism, ligaments, tendons, muscles.
3016706 CLINICAL ORTHOPAEDIC I 4 (0-12-4)
CLIN ORTH I
Clinical practice under supervision of faculty members in history taking, physical examination, pre-operative and post-operative assessment, advice on physical therapy to both in – and out-patients.
3016707 OPERATIVE ORTHOPAEDICS I 4 (0-12-4)
OPER ORTH I
Practice in orthopaedic surgery as a surgeon and assistant, problem solving, report writing under supervision of faculty members.
3016708 ORTHOPAEDIC DISORDER 2 (2-0-6)
ORTH DIS
Common orthopaedic diseases and conditions , progress in the treatment of orthopaedic disease and conditions, especially fracture and dislocation, orthopaedic infection.
3016709 CLINICAL ORTHOPAEDIC II 4 (0-12-4)
CLIN ORTH II
Practice in out-patient and in-patient treatment; discussion with faculty members on treatment planning and various methods of treatment.
3016710 OPERATIVE ORTHOPAEDICS II 4 (0-12-4)
OPER ORTH II
Practice in orthopaedic surgery as a surgeon or assistant to improve the surgical skills
under supervision of faculty members.
3016711 UPDATE IN ORTHOPAEDICS 4 (1-9-6)
UPDATE ORTH
Discussion on new knowledge in orthopaedics from orthopaedic journals, and textbooks,
with international standards.
3016712 HAND SURGERY 3 (0-9-3)
HAND SURG
Practice in history taking, physical examination, diagnosis and planning of treating patients with hand problems resulting from accidents, congenital handicap, abnormalities from work and degenerative diseases with emphasis on hand surgery.
3016713 SPINAL SURGERY 3 (0-9-3)
SPINE SURG
Practice in history taking, physical examination, diagnosis with emphasis on spinal surgery and planning of treating patients with spinal problems and related organs caused by injuries, congenital handicap or degenerative process.
3016714 TUMORS IN ORTHOPAEDICS SURGERY 3 (0-9-3)
TUMOR ORTHO
Orthopaedic disorders caused by tumors both primary and secondary causes including surgical practice.
3016715 ARTHROPLASTY 3 (0-9-3)
ARTHROPLASTY
Disorders of major joints which need surgical treatment particularly by total joint replacement; new techniques in arthroplasty; practice in history taking, physical examination and surgery by usingmedical artificial materials.
3016716 PEDIATRIC ORTHOPAEDIC SURGERY 3 (0-9-3)
PED ORTH
Skills in the treatment of children and infants with orthopaedic problems resulting from postnatal handicap with emphasis on surgical treatment.
3016717 SPORTS ORTHOPAEDICS 3 (0-9-3)
SPORTS ORTH
Skills in the treatment of patients with orthopaedic problems resulting from sport injuries; rapidly-developping treatment techniques.
3016718 SPECIAL PROJECT I 3 (0-0-12)
SPECIAL PROJECT I
Review of literature especially current researches of interest; presentation of clinical research proposals to the committee under supervision of a research advisor.
3016719 SPECIAL PROJECT II 3 (0-0-12)
SPECIAL PROJECT II
Conducting clinical researches; report writing and submitting articles to the committee;
oral presentation in the ROCST annual scientific meeting.
3016721 * ETHICS FOR ORTHOPADICS 1 (1-0-3)
ETHORTHO
Review of ethical topics; installation and promotion of ethics for orthopadics
3016722 * ORTHOAEDIC TRAUMA PRACTICE 2 (0-6-2)
ORTHO TRAUMA PRAC
Practice in orthopedic trauma conditions related to accidents at trauma center under supervision of special instructors of the hospital and faculty members
3016723 * REHABILITATION MEDICINE FOR ORTHOPEDISTS 1 (0-3-1)
REHAB MED ORTHO
Basic knowledge in rehabilitation medicine essential for orthopedists, role of rehabililation medicine in treatment of physical modalities and proper care after surgery.
------------------------------------
* รายวิชาเปิดใหม่
3016724 * BASIC RHEUMATOLOGY 1(0-3-1)
BSC RHEUMA
Basic knowledge in rheumatology closely related to systems of muscles and joints essential for orthopedists, with emphasis on rheumatic diseases treatment by using various methods : use of medication and surgery.
--------------------------------
* รายวิชาเปิดใหม่
25.6 แนวทางและเป้าหมายการนำ e – learning มาเสริมการเรียนการสอน
ให้นิสิตค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตประกอบการนำเสนอตามหัวข้อวิชาการที่ได้รับมอบหมาย การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ทประกอบการดูแลผู้ป่วยและการตัดสินใจในการเลือกวิธีการในการรักษาผู้ป่วย การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ตประกอบการค้นคว้าเพื่อนำเสนอหัวข้อวิจัยและการดำเนินการวิจัย การค้นคว้าโดยใช้ e-learning เพื่อเสริมการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆในหลักสูตรเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 30 ของวิชาทั้งหมด
มีระบบประกันคุณภาพหลักสูตรในด้านต่างๆดังนี้
มีการพัฒนาหลักสูตร โดยการปรับปรุงดัชนีด้านมาตรฐานและคุณภาพการศึกษาเป็นระยะๆทุก 5 ปี และมีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทุก 5 ปี โดยดัชนีบ่งชี้มาตรฐานและคุณภาพการศึกษาสำหรับหลักสูตรได้แก่
- การบริหารกิจการของหลักสูตร
- การบริหารทรัพยากร
- การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
- การจัดการสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
- การพัฒนาคุณภาพนิสิตระหว่างการศึกษา
- การพัฒนาคุณภาพด้านการเรียนการสอนและการวิจัย
- สภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการเรียนรู้
- คุณภาพบัณฑิตและคุณภาพงานวิจัยของบัณฑิต
กำหนดการประเมินหลักสูตรตามดัชนีบ่งชี้ข้างต้น ทุกๆระยะ 5ปี กำหนดการประเมินครั้งแรกปี พ.ศ. 2557
อาจารย์ประจำหลักสูตร
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล
คุณวุฒิ
- แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2528
- ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2533
- วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
พ.ศ.2535
- Certificate in Sports Medicine / Arthroscopy and Traumatology, Case Western Reserve
University , Cleveland, Ohio, USA.
ผลงานทางวิชาการ
ผลงานวิจัย
1. Kuptniratsaikul S, Kuptniratsaikul V, Tejapongvorchai T, Itiraviviong P. “A Capsular Dilation Facilitated Shoulder Manipulation for Treating Patients with Frozen Shoulder.” J Med Assoc Thai 2002; 85(Suppl 1): S163-169.
2. Itiraviviong P, Tejapongvorchai T, Kuptniratsaikul S. “Dynamic Vertebral body Prosthesis: A new invention and its biomechanical study” J Metals Materials and Minerals. 2001; Vo.11 No.1: 1-14.
3. Itravivivong P, Tejapongvorchai T, Kuptnirastsaikul S. “Allograft Replacement in Limb Salvage Surgery for Bone Tumors”. J Med Assoc Thai 2001; 84(Suppl 1):S396-S400.
4. Tejapongvorchai T, Prasongchin P, Kuptniratsaikul S, Itiraviviong P, C.Y.Leong J. “ Biomechanical Study on the Constructs of Bone Cement Incorporate with Screw for Anterior Spinal Stabilization: Comparison between the Construct versus normal spine”. J of Metal 2001; Vol.11 No.1 : 54-63.
5. Kuptniratsaikul S, Tejapongvorchai T, Brohmwitak C, Itiraviviong P. “ Plate-Screw-Wiring Technique of the Treatment of Periprosthetic Fracture Around the Hip: A biomechanical Study”. J Med Assoc Thai 2001; 84(Suppl 1): S415-S422.
6. สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล, วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล, ทรงพจน์ ตันประเสริฐ, อิตถี ชนไมตรี. “ การกดทับเส้นประสาท suprascaspular ในตำแหน่งและพยาธิสภาพที่พบไม่บ่อย รายงานผู้ป่วย”. จุฬาลงกรณ์เวชสาร 2545; 46(2): 155-62.
7. Kuptniratsaikul S, Kuptniratsaikul V, Udompunturak S, Siripunpirya M, Tejaongvorchai T, Itiravivong P. “The measurement of the semitendinosus muscle tendon length: A cadaveric study in King Chulalongkron Memorial Hospital”. Chula Med J 2002 Feb; 46(2):123-30.
8. เทวารักษ์ วีระวัฒนกานนท์, สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล. “ อาการชักหลังผ่าตัดจากการฉีดสารทึบรังสี Iopmidol เข้าช่องไขสันหลัง”. จุฬาลงกรณ์เวชสาร 2543 มิ.ย.ว 44(6): 447-52.
อาจารย์ประจำหลักสูตร
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ วัชระ วิไลรัตน์
คุณวุฒิ
- แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2530
- ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2535
- วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
พ.ศ.2536
- Certificate in Arthroplasty of the Knee and Hip, University College London Medical
School, UK
ผลงานทางวิชาการ
ผลงานวิจัย
1. Wilairatana V, Prasongchin P. : The open reduction and Internal fixation of humeral diaphysis fracture threatment with a Medial Approach. J. Med Assoc Thai 2001; 84 (Suppl 1) : S423-S427.
2. Wilairatana V, Prasongchin P. : An alternative technique for internal fixation of comminuted femoral – shaft fractures. Chula Med J 2000 Jan;44(1): 11-7.
3. Wilairatana P, Wilairatana V. : Meloidotic spondylitis mimicking tuberculous spondylitis. Southeast Asian J Trop Med Public Health 1994 Sep;25(3): 603-4.
4. Wilairatana V, Prasongchin P. : The composite fixation using polymethylmethacrylate and tension band wiring for comminuted pilon fractures in osteoporosis. Chula Med J2001 Dec;(12):1073-7.
5. Wilairatana V, Prasongchin P. : Acetabular Position Setting in Total Hip Arthroplasty by using V-Inclinometer. J Med Assoc Thai 2004 ; 87(4): 353-6.
อาจารย์ประจำหลักสูตร
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ประวิทย์ กิติดำรงสุข
คุณวุฒิ
- แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ.2532
- ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2536
- วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์
พ.ศ.2538
- Certificate of Hand Surgery Training, Department of Hand Surgery, Singapore General Hospital, Singapore พ.ศ.2539
-Certificate of Hand and MicroSurgery, Christine M. Kleinert Institute and University of Louisville,
Kentucky, USA พ.ศ. 2547
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย
1) Kitidumrongsook P, Patradul A, Sastravaha N, Techapalokul S. ‘Intravenous lidocaine anesthesia for ambulatory surgery of the upper extremities: Experience in Queen Sawang Wattana Memorial Hospital’. Chula Med J 2000 April; 44(4):243-52
2) Kitidumrongsook P, Patradul A. ‘Comparative study of the three mechanical properties between the metal stylet of plastic angiocath and kirschner wire of equal diameter’. Journal of Metals, Materials and Minerals; 11(1): 22-38, 2001.
3) Kitidumrongsook P, Patradul A, Ngarmukos C, Parkpian V. ‘Double-wing volar V-Y advancement flap for reconstruction for finger tip defects: Report of 23 cases’. Chula Med J 2002 February; 46(2): 131-136.
4) Kitidumrongsook P, Patradul A, Pataradool K. Resurfacing the degloved thumb up to the interphalangeal joint level with twin extended neurovascular island flaps. J Hand Surg (Br) 2006 October; 31(5): 562-5
5) Patradul A, Kitidumrongsook P, Ngarmukos C, Parkpian V. ‘Microsurgical Toe to Thumb Transplantationfor Traumatic Thumb Loss’. J Med Assoc Thai 2000 January; 83(1): 77-84.
6) Patradul A, Kitidumrongsook P, Parkpian V, Ngarmukos C. ‘Allograft Replacement in Giant Cell Tumour of the Hand’. Hand Surgery 2001 July; 6(1): 59-65
7) Patradul A, Ngarmukos C, Parkpian V, Kitidumrongsook P. Arterialized venous toenail flaps for treating nail loss in the fingers. J Hand Surg (Br) 1999 October; 24(5): 19-24
8) Kerns JM, Sladek EH, Malushte TS, Bach H, Elhassan B, Kitidumrongsook P, Kroin JS, Shott S, Gantsoudes G, Gonzalez MH. End-to-side nerve grafting of the tibial nerve to bridge a neuroma-in-continuity. Microsurgery 2005; 25(2): 155-64
ตำรา
1) ประวิทย์ กิติดำรงสุข.“การบาดเจ็บของเส้นประสาท หลอดเลือด และ compartment syndrome ในเด็ก Neurovascular Injuries and Compartment Syndrome in Children”. ใน กมลพร แก้วพรสวรรค์, ศัลยพงศ์ สรรพกิจ และจตุพร โชติกวณิชย์, บรรณาธิการ กระดูกหักในเด็ก จำนวน ๖๒๓ หน้า กรุงเทพมหานคร: คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๕๑. หน้า ๒๕๓-๒๖๗. จัดจำหน่ายทั่วไป.
อาจารย์ประจำหลักสูตร
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ยงศักดิ์ หวังรุ่งทรัพย์
คุณวุฒิ
- วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2523
- แพทยศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2525
- วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ พ.ศ.2531
- Certificate in Spinal and Knee Surgery , Institute of Orthopaedic, Oswesty , U.K. พ.ศ.2534
ผลงานวิชาการ
งานวิจัย
1. การผ่าตัดข้อเข่าเทียมชนิดโพสทีเรีย สเตบีไลเซด คอนไดลาร์ การศึกษาพิสัยการเหยียดและ
งอของข้อเข่าหลังผ่าตัด. จุฬาลงกรณ์เวชสาร 2537; 38(8) : 473-480.
2. Arthroscopic Debridement of Arthritic Knee in Elderly Patients. J. Asean Orthop. Asso.
1993;7(2):53-56.
3. The posterior stabilized condylar knee replacement : Range of motion. 1993 Chulalongkorn
Medicine Journal 38 (8).
4. The anterior cruciate ligament deficient knee : Current concept. Chulalongkorn Medicine Journal 1993. 38 (8).
อาจารย์ประจำหลักสูตร
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี ตนาวลี
คุณวุฒิ
- แพทยศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2529
- วุฒิบัตรแสดงความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ พ.ศ.2535
- Certificate in Knee Reconstruction, Beth Israel Medical Center, New York, New York, U.S.A.2541
- Certificate in Adult Reconstructive Knee Surgery, Institute For Advanced Orthopaedic Study, UMDNJ,
New Brunswick, New Jersey, U.S.A. 2545
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย
- Results of the First 136 Consecutive Minimally Invasive Total Knee Arthroplasties. อารี ตนาวลี, สาธิต เที่ยงวิทยาพร, พิบูลย์ อิทธิระวิวงศ์ , J Med Assoc Thai. Sep : 88(4) Supplement : S74-S78 – 2005
- Aree Tanavalee, Md; Young Joon Choi, Md; Alfred J. Tria, Jr, MD. Unicondylar Knee Arthroplasty : Past and Present. Orthopaedics 2005;28:1423.
- Tanavalee A, Jaruwannapong S, Yuktanandana P, Itiravivong P. "Early outcomes following minimally invasive total hip arthroplasty using a two-incision approach versus a mini-posterior approach". Hip International 2006; 16:s1-6
- Viriyavrjkul P, Wilairatana V, Tanavalee A, Joavisidha K. "Comparison of characteristics of patients with and without calcium pyrophosphate dehydrate crystal deposition disease who underwent total knee arthroplasty". Osteoarthritis Cartilage. 2007 Feb; 15Z2X:232-5.
- Tanavalee A, Thiengwittayaporn S, Itiravivong P. "Progressive Quadriceps Incision During MIS TKA : The Effect on Early Post-operative Ambulation". J Arthroplasty 2007, in press.
- อารี ตนาวลี วิชาออร์โธปิดิกส์ I 3016410 เรื่อง Injuries and affections of the lower extremities จำนวน 26 หน้า สอนตั้งแต่ปี 2542-ปัจจุบัน
- อารี ตนาวลี วิชาออร์โธปิดิกส์ II 3016510 เรื่อง การประเมินและตรวจร่างกายเพื่อการวินิจฉัยปัญหาปวดเข่าในผู้ใหญ่ จำนวน 13 หน้า สอนตั้งแต่ปี 2542-ปัจจุบัน
- อารี ตนาวลี "Complications of Total Knee Arthroplasty" Hip and Knee Course 2000. กรุงเทพฯ โรงพิมพ์โฆษิตการพิมพ์ 2543 หน้า 71-92 จำนวน 22 หน้า
- อารี ตนาวลี "Fixed Bearing Total Knee Arthroplasty: Cruciate Retaining Vs Cruciate Substituting" ใน อารี ตนาวลี, ชายธวัช งามอุโฆษ บรรณาธิการ ตำราร่วมสมัย 2001 ข้อเข่าเทียมและข้อตะโพกเทียม กรุงเทพฯ สนพ.กรุงเทพเวชสาร 2544 หน้า 64-70 จำนวน 7 หน้า
2. Thiengwittayaporn S, Tanavallee A, Hanpanitkitkan S.: Accuracy of Implant Position in Unicondylar Knee Arthroplasty with Minimally Invasive Technique : First Case Experience in Average Surgeons. Thai J Ortho. Vol.29 ; 2 Sept 2004
บทความ
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงทางวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก สาขาวิชาออร์โธปิดิกส์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ.2552)
ลำดับที่
|
ชื่อ
|
คุณวุฒิ
|
1.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ สมศักดิ์ คุปต์นิรัติศัยกุล*
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Sport Medicine / Arthroscopy and Traumatology (USA)
|
2.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ วัชระ วิไลรัตน์*
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate of Arthroplasty of the Knee and Hip (UK)
|
3.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี ตนาวลี
|
วท.บ. พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Knee Reconstruction (USA)
Certificate in Adult Reconstruction Knee Surgery (USA)
|
4.
|
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ยงศักดิ์ หวังรุ่งทรัพย์
|
พ.บ. (จุฬาฯ)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate in Spinal and Knee Surgery (UK)
|
* อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
|
|
5. |
รองศาสตราจารย์นายแพทย์ ประวิทย์ กิติดำรงสุข*
|
พ.บ. (มหิดล)
ว.ว.สาขาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ (แพทยสภา)
Certificate of Hand Surgery Training (Singapore)
Certificate of Hand and MicroSurgery (USA)
|