งานวิจัย
ผลงานวิจัย คณาจารย์ ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ : 1991-ปัจจุบัน
การสนับสนุนด้านการวิจัย : สำนักบริหารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
แหล่งทุนภายนอก
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
เครื่องมือสำหรับงานวิจัย
ระบบขออนุมัติและติดตามโครงการวิจัย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย :: http://cuh-research.kcmh.or.th
วิธีดำเนินการมาตรฐาน (Standard Operating Procedures)
ของ คณะกรรมการพิจารณาจริยธรรมการวิจัย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฉบับที่ 6.0 พ.ศ. 2562
- IT Chula โปรแกรม SPSS
- สำนักบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- สำนักบริหารวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- Clinical Research Center
- Research Affairs: Faculty of Medicine, Chulalongkorn University
- โปรแกรม endnote
- Turnitin.com , คู่มือการตรวจสอบการคัดลอกลิขสิทธิ์สิ่งพิมพ์ทางออนไลน์ด้วยโปรแกรม Turnitin
ได้ที่นี่
การเรียนการสอน
สำหรับแพทย์ประจำบ้านออร์โธปิดิกส์ ปีที่ 2 ทุกคนจะมีอาจารย์ที่ปรึกษาประจำ 1 ท่าน ซึ่งจะเป็นทั้งอาจารย์ที่ปรึกษาด้านวิจัยและด้านอื่นๆ งานวิจัยของแพทย์ประจำบ้านจะต้องปรึกษาและริเริ่ม โดยมีแผนงานดังต่อไปนี้
- การบรรยายวิธีการทำวิจัย ทั้งโดยคณะและภายในภาควิชาอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง
- ให้มีการรวบรวมและเสนอเรื่องที่จะทำวิจัย โดยเสนอเป็น Literature review ในช่วงปลายของแพทย์ประจำบ้าน ปีที่ 2
- เขียนและเสนอ proposal ของงานวิจัยที่จะทำ ในช่วงกลางของแพทย์ประจำบ้าน ปีที่ 3
- ดำเนินการเก็บข้อมูล วิเคราะห์และเสนอในที่ประชุมในช่วงกลางของแพทย์ประจำบ้านปีที่ 4
>> ตารางกำหนดเวลาการทำงานด้านวิจัย <<
Year
Activity |
ปีที่ 2 | ปีที่ 3 | ปีที่ 4 |
Literature review | -----------> | ||
Proposal making + Presentation | ----------> | ||
Data collection (Follow up + evaluation) | ---------> | ||
Analysis + Conclusion |
------ | -------> | |
+ Research writing/+ Program for publication | ----------------> |
* เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง